top of page
ค้นหา
รูปภาพนักเขียนเจน กิเนล

Q: จดทะเบียนหย่าที่ประเทศไทย การจดทะเบียนหย่ามีผลในการหย่าที่ฝรั่งเศสด้วยหรือไม่

ขอแชร์คำถามดีมากจากทาง YouTube ค่ะ

.

Q: จดทะเบียนหย่าที่ประเทศไทย การจดทะเบียนหย่ามีผลในการหย่าที่ฝรั่งเศสด้วยหรือไม่

.

A: .เช่นเดียวกับการจดทะเบียนสมรส กรณีที่เราจดทะเบียนที่ประเทศใดแล้วไม่ได้ไปบันทึกทะเบียนอีกประเทศหนึ่ง จะถือว่ายัง “ไม่ได้” มีผลทางกฎหมายที่พิสูจน์ได้ 100% การบันทึกทะเบียนเสมือนกับเป็นการพิสูจน์ว่าการเปลี่ยนสถานภาพเป็น “สมรส” หรือการ “หย่า” นั้นมีผลทางกฎหมายในทั้งสองประเทศ และได้รับรับรองรับทางกฎหมายของประเทศนั้นๆอย่างแท้จริง

.

.

Q: กรณีไม่บันทึกจะมีการปรับหรือบทลงโทษทางกฎหมายใดๆหรือไม่

.

A: กรณีไม่บันทึก สถานภาพสมรสหรือหย่าร้าง ก็จะไม่มีเอกสารราชการที่สามารถใช้ยืนยันสถานภาพเพื่อทำกิจใดๆในประเทศนั้นๆได้ เช่น กรณีไม่บันทึกการหย่าที่ประเทศฝรั่งเศส คู่สมรสชาวฝรั่งเศสจะไม่สามารถสมรสใหม่ได้แน่นอน เพราะไม่มีทะเบียนหย่าฝรั่งเศสใช้ในการยืนยันว่า “หย่า” แล้วนั่นเอง หรือไม่ว่าจะทำกิจใดๆที่ต้องมีคู่สมรสมาเซ็นยินยอมด้วย ก็จะไม่สามารถทำได้เพราะกฎหมายฝรั่งเศสถือว่ายังไม่ได้หย่า คู่สมรสชาวไทยก็จะต้องมาร่วมเซ็นด้วย

.

 ต้องการคำปรึกษาการบันทึกทะเบียนสมรสหรือหย่าที่ประเทศฝรั่งเศสหรือประเทศไทย ปรึกษาหรือรับบริการวีซ่าฝรั่งเศส หรือขอรับบริการเตรียมเอกสารสำหรับการจดทะเบียนปักส์ จดทะเบียนสมรส หรือการขอเอกสารราชการไทยเพื่อนำไปใช้ในติดต่องานราชการฝรั่งเศส เปิดบัญชีธนาคารฝรั่งเศส ดูแลนักเรียนไทยในฝรั่งเศส ล่ามประสานงานกับอำเภอหรืองาน event พิธีกรฝรั่งเศส ปรึกษาการวางแผนชีวิตหลังแต่งงานหรือจดปักส์ Life Planner ติดต่อสอบถามได้ที่ Line ID janeguinel หรือ Whatsapp +33781994174 ค่ะ

.

เจน กิเนล

#ล่ามฝรั่งเศส #บุตรบุญธรรมฝรั่งเศส #สัญชาติฝรั่งเศส #วีซ่าฝรั่งเศส #จดทะเบียนฝรั่งเศส #แต่งงานฝรั่งเศส #จดปักส์ฝรั่งเศส #แฟนฝรั่งเศส #รับรองนิติกรณ์ #วีซ่าไม่ผ่าน #จดหมายอุทธรณ์ #Sophrologie #Sophrology #ครูฝรั่งเศส #แปลหนังสือฝรั่งเศส #PACS #หย่าฝรั่งเศส #lifeplanner #นักวางแผนอาชีพ #อาชีพฝรั่งเศส #งานฝรั่งเศส #เรียนต่อฝรั่งเศส

ดู 0 ครั้ง0 ความคิดเห็น

โพสต์ล่าสุด

ดูทั้งหมด

🙋‍♀️ทำไมนำบุตรเข้ามาอยู่ฝรั่งเศส โดยการรับบุตรบุญธรรมจึงได้รับความนิยมขึ้นเรื่อยๆ❓

. มีเหตุผลอยู่ 3 ประการค่ะ . 1 👨‍👩‍👧‍👦คนไทยที่มีบุตรก่อนสมรสกับชาวฝรั่งเศส ต้องการนำบุตรที่มีอายุ “เกินกว่า18 ปี”...

Comments


bottom of page